สุนทรียศาสตร์ล้านนา ป.1
ภาคเรียนที่ 1 - 2 ประจำปีการศึกษา 2565
สัปดาห์ที่ 1 ระหว่างวันที่ 9-13 พฤษภาคม 2565 การเรียนรู้สุนทรียศาสตร์ล้านนา โดยเฉพาะทางด้านดนตรีล้านนา นาฏศิลป์ล้านนา และศิลปะล้านนา ใช้การเรียนรู้ด้วยตนเองผ่านการนำเสนอผลงานสุนทรียศาสตร์ล้านนาที่ใช้ทักษะการฟัง การพูด การอ่านและการเขียนภาษาล้านนามาประยุกต์ใช้ในการเรียนรู้ทางวัฒนธรรมล้านนาในวิถีชีวิตไทยสู่สากล ในช่วง COVID - 19 ระบาด.
สมรรถนะข้อที่ 1 ภาษาไทยเพื่อการสื่อสาร นำทักษะการฟังพูดอ่านเขียนภาษาไทยมาแก้ไขปัญหาการเรียนรู้ทางสุนทรียศาสตร์ล้านนาด้านดนตรีล้านนา นาฏศิลป์ล้านนา และศิลปะล้านนาจากประสบการณ์ตรงเพื่อให้มีพื้นฐานอย่างถูกต้อง.
สมรรถนะข้อที่ 8 การรู้เท่าทันสื่อสารสนเทศและดิจิทัล รู้จักเลือกใช้เครื่องมือ และแหล่งสื่อสารสนเทศเพื่อการสืบค้น และเข้าถึงข้อมูลทางดนตรีที่ต้องการอย่างเหมาะสมกับวัย ตลอดจนสามารถสืบค้น อ่าน สร้างสื่อและข่าวสารทางดนตรีอย่างง่าย และเลือกส่งต่อข้อมูลข่าวสารทางดนตรีที่เป็นประโยชน์ ต่อตนเอง ครอบครัว.
สัปดาห์ที่ 2 ระหว่างวันที่ 16-20 พฤษภาคม 2565 สุนทรียศาสตร์ทางดนตรีสื่อความหมายของความงามทางดนตรีล้านนา นาฏศิลป์ล้านนา และศิลปะไทยที่มีต่อชีวิต สังคม การเมืองในช่วง COVID - 19 ระบาด เพื่อสร้างคุณค่าทางสุนทรียศิลป์ โดยผ่านขั้นตอนการเรียนรู้เชิงคุณค่า.
สมรรถนะข้อที่ 5 ทักษะชีวิตและความเจริญแห่งตน มีสุนทรียศาสตร์ทางดนตรีสามารถควบคุมอารมณ์ของตนได้ และปรับตนให้เล่นและเรียนรู้ทางดนตรี ร่วมกับเพื่อน ๆ ได้ มีสัมมาคารวะ และปฏิบัติตนต่อผู้อื่นได้อย่างเหมาะสมกับวัย.
สมรรถนะข้อที่ 8 การรู้เท่าทันสื่อสารสนเทศและดิจิทัล รู้จักเลือกใช้เครื่องมือ และแหล่งสื่อสารสนเทศเพื่อการสืบค้น และเข้าถึงข้อมูลทางดนตรีที่ต้องการอย่างเหมาะสมกับวัย ตลอดจนสามารถสืบค้น อ่าน สร้างสื่อและข่าวสารทางดนตรีอย่างง่าย และเลือกส่งต่อข้อมูลข่าวสารทางดนตรีที่เป็นประโยชน์ ต่อตนเอง ครอบครัว.
สัปดาห์ที่ 3 ระหว่างวันที่ 23-27 พฤษภาคม 2565 และสัปดาห์ที่ 4 30 พฤษภาคม 2565 ถึงวันที่ 3 มิถุนายน 2565 การเรียนรู้ทางดนตรีในช่วง COVID - 19 ระบาด ทำให้ผู้เรียนพัฒนาตนเองเข้าสู่กระบวนการใช้เทคโนโลยีสารสนเทศเพื่อการสื่อสารทางดนตรีมาสืบค้นและค้นหาวิธีการนำเสนอผลการเรียนรู้ทางดนตรีด้วยตนเองผ่านระบบออนไลน์ ในการเรียนรู้ทางดนตรีรวมถึงการใช้โปรแกรมเพื่อการสืบค้นข้อมูลทางดนตรี และการใช้โปรแกรมสำเร็จรูปในการเรียนรู้ทางดนตรี ควบคู่กับการใช้แอปพลิเคชัน THAI TUNER APP เทียบเสียงเครื่องดนตรีไทย.
สมรรถนะข้อที่ 8 การรู้เท่าทันสื่อสารสนเทศและดิจิทัล รู้จักเลือกใช้เครื่องมือ และแหล่งสื่อสารสนเทศเพื่อการสืบค้น และเข้าถึงข้อมูลทางดนตรีที่ต้องการอย่างเหมาะสมกับวัย ตลอดจนสามารถสืบค้น อ่าน สร้างสื่อและข่าวสารทางดนตรีอย่างง่าย และเลือกส่งต่อข้อมูลข่าวสารทางดนตรีที่เป็นประโยชน์ ต่อตนเอง ครอบครัว.
สัปดาห์ที่ 5 ระหว่างวันที่ 6-10 มิถุนายน 2565 และสัปดาห์ที่ 6 ระหว่างวันที่ 13-17 มิถุนายน 2565 การเรียนรู้ทางดนตรีในช่วง COVID - 19 ระบาด มีความจำเป็นอย่างยิ่งในการพัฒนาคุณภาพชีวิตของผู้เรียนให้มีความสัมพันธ์ของสุขภาพกับอาหารที่มีความเชื่อมโยงการกับเรียนรู้ทางดนตรีด้วยการออกกำลังกาย รวมถึงการใช้ยาและสมุนไพรในชีวิตประจำวันอย่างถูกต้องและปลอดภัยในการดำเนินชีวิต.
สมรรถนะข้อที่ 3 กระบวนการสืบสอบทางวิทยาสมรรถนะหลักด้านและจิตวิทยาสมรรถนะหลักด้าน บอกขั้นตอนกระบวนการเรียนรู้ทางสุนทรียศาสตร์ล้านนาในการพัฒนาสุขภาพด้วยเวชศาสตร์เพื่อคุณภาพชีวิตได้อย่างถูกต้องและปลอดภัยในการดำเนินชีวิต.
สมรรถนะข้อที่ 5 ทักษะชีวิตและความเจริญแห่งตน บอกขั้นตอนการเรียนรู้และพัฒนาสุนทรียศาสตร์ล้านนาของตนเองสามารถควบคุมอารมณ์ของตนได้ และปรับตนให้เล่นและเรียนรู้ทางสุนทรียศาสตร์ล้านนาร่วมกับเพื่อน ๆ ได้ มีสัมมาคารวะ และปฏิบัติตนต่อผู้อื่นได้อย่างเหมาะสมกับวัย.
สมรรถนะข้อที่ 8 การรู้เท่าทันสื่อสารสนเทศและดิจิทัลรู้จักเลือกใช้เครื่องมือ และแหล่งสื่อสารสนเทศเพื่อการสืบค้น และเข้าถึงข้อมูลทางดนตรีที่ต้องการอย่างเหมาะสมกับวัย ตลอดจนสามารถสืบค้น อ่าน สร้างสื่อและข่าวสารทางสุนทรียศาสตร์ล้านนาอย่างง่าย และเลือกส่งต่อข้อมูลข่าวสารทางสุนทรียศาสตร์ล้านนาที่เป็นประโยชน์ ต่อตนเอง ครอบครัว.
สัปดาห์ที่ 7 ระหว่างวันที่ 20-24 มิถุนายน 2565 การเรียนรู้กฎหมายลิขสิทธิ์ที่เกี่ยวข้องกับสุนทรียศาสตร์ล้านนาที่มีความจำเป็นในการดำเนินชีวิต.
สมรรถนะข้อที่ 5 ทักษะชีวิตและความเจริญแห่งตนบอกขั้นตอนการเรียนรู้เกี่ยวกับกฏหมายลิขสิทธิ์และพัฒนาสุนทรียศาสตร์ล้านนาของตนเองสามารถควบคุมอารมณ์ของตนได้ และปรับตนให้เล่นและเรียนรู้ทางสุนทรียศาสตร์ล้านนาร่วมกับเพื่อน ๆ ได้ มีสัมมาคารวะ และปฏิบัติตนต่อผู้อื่นได้อย่างเหมาะสมกับวัย.
สมรรถนะข้อที่ 8 การรู้เท่าทันสื่อสารสนเทศและดิจิทัลรู้จักเลือกใช้เครื่องมือ และแหล่งสื่อสารสนเทศเพื่อการสืบค้น และเข้าถึงข้อมูลทางสุนทรียศาสตร์ล้านนาที่ต้องการอย่างเหมาะสมกับวัย ตลอดจนสามารถสืบค้น อ่าน สร้างสื่อและข่าวสารทางสุนทรียศาสตร์ล้านนาอย่างง่าย และเลือกส่งต่อข้อมูลข่าวสารทางสุนทรียศาสตร์ล้านนาที่เป็นประโยชน์ ต่อตนเอง ครอบครัว.
สัปดาห์ที่ 8 ระหว่างวันที่ 27-30 มิถุนายน 2565 ถึงวันที่ 1 กรกฎาคม 2565 และสัปดาห์ที่ 9 ระหว่างวันที่ 4-8 กรกฏาคม 2565 การเรียนรู้ทางดนตรีในช่วง COVID - 19 ระบาด มีความสำคัญต่อการสร้างนวัตกรน้อยทางดนตรีผ่านระบบออนไลน์ ด้วยเหตุนี้การพัฒนาทักษะดนตรีพื้นฐานจึงมีความสำคัญในการพัฒนาคุณค่า ความสำคัญและประโยชน์ของดนตรีล้านนาที่มีต่อสังคมและวัฒนธรรมไทยในช่วง COVID - 19 ระบาด.
สมรรถนะข้อที่ 1 ภาษาไทยเพื่อการสื่อสาร นำทักษะการฟังพูดอ่านเขียนภาษาไทยมาแก้ไขปัญหาการเรียนรู้ทางสุนทรียศาสตร์ไทยด้านดนตรีล้านนา นาฏศิลป์ล้านนา และศิลปะล้านนาจากประสบการณ์ตรงเพื่อให้มีพื้นฐานอย่างถูกต้อง.
สมรรถนะข้อที่ 2 คณิตสมรรถนะหลักด้านในชีวิตประจำวันนำทักษะกระบวนการทางคณิตศาสตร์มาแก้ปัญหาในชีวิตประจำวันที่เหมาะสมกับการเรียนรู้ทางสุนทรียศาสตร์ล้านนาอาทิ ดนตรีล้านนา นาฏศิลป์ล้านนา และศิลปะล้านนา โดยนำทักษะทางคณิตศาสตร์มาแก้ปัญหาและคำนึงถึงความสมเหตุสมผลของคำตอบที่ได้ที่ถูกต้องและชัดเจน.
สมรรถนะข้อที่ 5 ทักษะชีวิตและความเจริญแห่งตน บอกขั้นตอนการเรียนรู้และพัฒนาสุนทรียศาสตร์ล้านนาของตนเองสามารถควบคุมอารมณ์ของตนได้ และปรับตนให้เล่นและเรียนรู้ทางสุนทรียศาสตร์ล้านนา ร่วมกับเพื่อน ๆ ได้ มีสัมมาคารวะ และปฏิบัติตนต่อผู้อื่นได้อย่างเหมาะสมกับวัย.
สมรรถนะข้อที่ 8 การรู้เท่าทันสื่อสารสนเทศและดิจิทัล รู้จักเลือกใช้เครื่องมือ และแหล่งสื่อสารสนเทศเพื่อการสืบค้น และเข้าถึงข้อมูลทางดนตรีที่ต้องการอย่างเหมาะสมกับวัย ตลอดจนสามารถสืบค้น อ่าน สร้างสื่อและข่าวสารทางสุนทรียศาสตร์ล้านนาอย่างง่าย และเลือกส่งต่อข้อมูลข่าวสารทางสุนทรียศาสตร์ล้านนาที่เป็นประโยชน์ ต่อตนเอง ครอบครัว.
สัปดาห์ที่ 10 ระหว่างวันที่ 11-15 กรกฎาคม 2565 และสัปดาห์ที่ 11 ระหว่างวันที่ 18-22 กรกฏาคม 2565 การบันทึกโน้ตเพลงล้านนามีความสำคัญต่อการพัฒนาทักษะการเรียนรู้ทางดนตรี .
สมรรถนะข้อที่ 1 ภาษาไทยเพื่อการสื่อสาร นำทักษะการฟังพูดอ่านเขียนภาษาไทยมาแก้ไขปัญหาการเรียนรู้ทางสุนทรียศาสตร์ล้านนาด้านดนตรีล้านนา นาฏศิลป์ล้านนา และศิลปะล้านนาจากประสบการณ์ตรงเพื่อให้มีพื้นฐานอย่างถูกต้อง.
สมรรถนะข้อที่ 2 คณิตสมรรถนะหลักด้านในชีวิตประจำวัน นำทักษะกระบวนการทางคณิตศาสตร์มาแก้ปัญหาในชีวิตประจำวันที่เหมาะสมกับการเรียนรู้ทางสุนทรียศาสตร์ล้านนาอาทิ ดนตรีล้านนา นาฏศิลป์ล้านนา และศิลปะล้านนา โดยนำทักษะทางคณิตศาสตร์มาแก้ปัญหาและคำนึงถึงความสมเหตุสมผลของคำตอบที่ได้ ที่ถูกต้องและชัดเจน.
สมรรถนะข้อที่ 4 ภาษาอังกฤษเพื่อการสื่อสาร มาบันทึกโน้ตเพลงสากลในการเรียนรู้ทางดนตรีสากล .
สมรรถนะข้อที่ 8 การรู้เท่าทันสื่อสารสนเทศและดิจิทัล รู้จักเลือกใช้เครื่องมือ และแหล่งสื่อสารสนเทศเพื่อการสืบค้น และเข้าถึงข้อมูลทางสุนทรียศาสตร์ล้านนาที่ต้องการอย่างเหมาะสมกับวัย ตลอดจนสามารถสืบค้น อ่าน สร้างสื่อและข่าวสารทางสุนทรียศาสตร์ล้านนาอย่างง่าย และเลือกส่งต่อข้อมูลข่าวสารทางสุนทรียศาสตร์ล้านนาที่เป็นประโยชน์ ต่อตนเอง ครอบครัว.
สัปดาห์ที่ 12 ระหว่างวันที่ 25-29 กรกฎาคม 2565 และสัปดาห์ที่ 13 ระหว่างวันที่ 1-5 สิงหาคม 2565 หน้าทับดนตรีไทยมีความสำคัญในการควบคุมจังหวะ และทำนองเพลงที่ใช้ในการเรียนรู้ทางดนตรีของผู้เรียนในการนำเสนอผลงานทางดนตรีในรูปแบบการแสดงตามประเภทวงดนตรีล้านนาให้เกิดความไพเราะ.
สมรรถนะข้อที่ 1 ภาษาไทยเพื่อการสื่อสาร นำทักษะการฟังพูดอ่านเขียนภาษาไทยมาแก้ไขปัญหาการเรียนรู้ทางสุนทรียศาสตร์ล้านนาด้านดนตรีล้านนา นาฏศิลป์ล้านนา และศิลปะล้านนาจากประสบการณ์ตรงเพื่อให้มีพื้นฐานอย่างถูกต้อง.
สมรรถนะข้อที่ 2 คณิตสมรรถนะหลักด้านในชีวิตประจำวันนำทักษะกระบวนการทางคณิตศาสตร์มาแก้ปัญหาในชีวิตประจำวันที่เหมาะสมกับการเรียนรู้ทางสุนทรียศาสตร์ล้านนาอาทิ ดนตรีล้านนา นาฏศิลป์ล้านนา และศิลปะล้านนา โดยนำทักษะทางคณิตศาสตร์มาแก้ปัญหาและคำนึงถึงความสมเหตุสมผลของคำตอบที่ได้ที่ถูกต้องและชัดเจน.
สมรรถนะข้อที่ 8 การรู้เท่าทันสื่อสารสนเทศและดิจิทัล รู้จักเลือกใช้เครื่องมือ และแหล่งสื่อสารสนเทศเพื่อการสืบค้น และเข้าถึงข้อมูลทางดนตรีที่ต้องการอย่างเหมาะสมกับวัย ตลอดจนสามารถสืบค้น อ่าน สร้างสื่อและข่าวสารทางสุนทรียศาสตร์ไทยอย่างง่าย และเลือกส่งต่อข้อมูลข่าวสารทางสุนทรียศาสตร์ไทยที่เป็นประโยชน์ ต่อตนเอง ครอบครัว.
สัปดาห์ที่ 14 ระหว่างวันที่ 8-11 สิงหาคม 2565 โครงสร้างเพลงล้านนาแต่ละประเภทมีความสำคัญต่อการนำเพลงไปใช้บรรเลงในโอกาสต่างๆ โดยเฉพาะในช่วง COVID - 19 ระบาด.
สมรรถนะข้อที่ 1 ภาษาไทยเพื่อการสื่อสาร นำทักษะการฟังพูดอ่านเขียนภาษาไทยมาแก้ไขปัญหาการเรียนรู้ทางสุนทรียศาสตร์ล้านนาด้านดนตรีล้านนา นาฏศิลป์ล้านนา และศิลปะล้านนาจากประสบการณ์ตรงเพื่อให้มีพื้นฐานอย่างถูกต้อง.
สมรรถนะข้อที่ 5 ทักษะชีวิตและความเจริญแห่งตน บอกขั้นตอนการเรียนรู้และพัฒนาสุนทรียศาสตร์ล้านนาของตนเองสามารถควบคุมอารมณ์ของตนได้ และปรับตนให้เล่นและเรียนรู้ทางสุนทรียศาสตร์ล้านนา ร่วมกับเพื่อน ๆ ได้ มีสัมมาคารวะ และปฏิบัติตนต่อผู้อื่นได้อย่างเหมาะสมกับวัย.
สมรรถนะข้อที่ 8 การรู้เท่าทันสื่อสารสนเทศและดิจิทัล รู้จักเลือกใช้เครื่องมือ และแหล่งสื่อสารสนเทศเพื่อการสืบค้น และเข้าถึงข้อมูลทางสุนทรียศาสตร์ล้านนาที่ต้องการอย่างเหมาะสมกับวัย ตลอดจนสามารถสืบค้น อ่าน สร้างสื่อและข่าวสารทางสุนทรียศาสตร์ล้านนาอย่างง่าย และเลือกส่งต่อข้อมูลข่าวสารทางสุนทรียศาสตร์ล้านนาที่เป็นประโยชน์ ต่อตนเอง ครอบครัว.
สัปดาห์ที่ 15 ระหว่างวันที่ 15-19 สิงหาคม 2565 ประเภทของเครื่องดนตรีล้านนาและการผสมวงดนตรีล้านนามีความสำคัญในการพัฒนาทักษะทางดนตรีล้านนาให้เกิดความไพเราะและคุณภาพของเสียงเครื่องดนตรีล้านนาที่บรรเลงถูกต้องของจังหวะและทำนองเพลงด้วยท่าทางในการบรรเลงหรือการใช้วงดนตรีบรรเลงในโอกาสต่างๆ ในช่วง COVID - 19 ระบาด.
สมรรถนะข้อที่ 1 ภาษาไทยเพื่อการสื่อสาร นำทักษะการฟังพูดอ่านเขียนภาษาไทยมาแก้ไขปัญหาการเรียนรู้ทางสุนทรียศาสตร์ล้านนาด้านดนตรีล้านนาย นาฏศิลป์ล้านนา และศิลปะล้านนาจากประสบการณ์ตรงเพื่อให้มีพื้นฐานอย่างถูกต้อง.
สมรรถนะข้อที่ 2 คณิตสมรรถนะหลักด้านในชีวิตประจำวันนำทักษะกระบวนการทางคณิตศาสตร์มาแก้ปัญหาในชีวิตประจำวันที่เหมาะสมกับการเรียนรู้ทางสุนทรียศาสตร์ล้านนาอาทิ ดนตรีล้านนา นาฏศิลป์ล้านนา และศิลปะล้านนา โดยนำทักษะทางคณิตศาสตร์มาแก้ปัญหาและคำนึงถึงความสมเหตุสมผลของคำตอบที่ได้ที่ถูกต้องและชัดเจน.
สมรรถนะข้อที่ 8 การรู้เท่าทันสื่อสารสนเทศและดิจิทัล รู้จักเลือกใช้เครื่องมือ และแหล่งสื่อสารสนเทศเพื่อการสืบค้น และเข้าถึงข้อมูลทางดนตรีที่ต้องการอย่างเหมาะสมกับวัย ตลอดจนสามารถสืบค้น อ่าน สร้างสื่อและข่าวสารทางสุนทรียศาสตร์ล้านนาอย่างง่าย และเลือกส่งต่อข้อมูลข่าวสารทางสุนทรียศาสตร์ล้านนาที่เป็นประโยชน์ ต่อตนเอง ครอบครัว.
สัปดาห์ที่ 16 ระหว่างวันที่ 22-26 สิงหาคม 2565 ขนบประเพณีของดนตรีล้านนาถือเป็นแบบแผนและแนวทางในการเรียนรู้ทางดนตรีล้านนา ที่มีความสำคัญต่อผู้เรียนดนตรีไทยทุกคนเพื่อให้เห็นคุณค่าของพิธีไหว้ครูและครอบครูดนตรีล้านนา รวมถึงการปฏิบัติตนด้วยจรรยาบรรณและจิตพิสัยของนักดนตรีไทยที่พึงประสงค์ในช่วง COVID - 19 ระบาด.
สมรรถนะข้อที่ 1 ภาษาไทยเพื่อการสื่อสาร นำทักษะการฟังพูดอ่านเขียนภาษาไทยมาแก้ไขปัญหาการเรียนรู้ทางสุนทรียศาสตร์ล้านนาด้านดนตรีล้านนา นาฏศิลป์ล้านนา และศิลปะล้านนาจากประสบการณ์ตรงเพื่อให้มีพื้นฐานอย่างถูกต้อง.
สมรรถนะข้อที่ 5 ทักษะชีวิตและความเจริญแห่งตน บอกขั้นตอนการเรียนรู้และพัฒนาสุนทรียศาสตร์ล้านนาของตนเองสามารถควบคุมอารมณ์ของตนได้ และปรับตนให้เล่นและเรียนรู้ทางสุนทรียศาสตร์ล้านนา ร่วมกับเพื่อน ๆ ได้ มีสัมมาคารวะ และปฏิบัติตนต่อผู้อื่นได้อย่างเหมาะสมกับวัย.
สมรรถนะข้อที่ 8 การรู้เท่าทันสื่อสารสนเทศและดิจิทัล รู้จักเลือกใช้เครื่องมือ และแหล่งสื่อสารสนเทศเพื่อการสืบค้น และเข้าถึงข้อมูลทางดนตรีที่ต้องการอย่างเหมาะสมกับวัย ตลอดจนสามารถสืบค้น อ่าน สร้างสื่อและข่าวสารทางสุนทรียศาสตร์ล้านนาอย่างง่าย และเลือกส่งต่อข้อมูลข่าวสารทางสุนทรียศาสตร์ล้านนาที่เป็นประโยชน์ ต่อตนเอง ครอบครัว.
สัปดาห์ที่ 17 ระหว่างวันที่ 29 สิงหาคม 2565 ถึงวันที่ 2 กันยายน 2565 และสัปดาห์ที่ 18 ระหว่างวันที่ 5-9 กันยายน 2565 การฝึกปฏิบัติเครื่องดนตรีไทยประเภทเครื่องเป่าไทย โดยต่อเพลงปิ้งขนมปัง ใช้ขลุ่ยเพียงออ คีย์ C.
สมรรถนะข้อที่ 1 ภาษาไทยเพื่อการสื่อสาร นำทักษะการฟังพูดอ่านเขียนภาษาไทยมาแก้ไขปัญหาการเรียนรู้ทางสุนทรียศาสตร์ไทยด้านดนตรีไทย นาฏศิลป์ไทย และศิลปะไทยจากประสบการณ์ตรงเพื่อให้มีพื้นฐานอย่างถูกต้อง.
สมรรถนะข้อที่ 2 คณิตสมรรถนะหลักด้านในชีวิตประจำวันนำทักษะกระบวนการทางคณิตศาสตร์มาแก้ปัญหาในชีวิตประจำวันที่เหมาะสมกับการเรียนรู้ทางสุนทรียศาสตร์ไทยอาทิ ดนตรีไทย นาฏศิลป์ไทย และศิลปะไทย โดยนำทักษะทางคณิตศาสตร์มาแก้ปัญหาและคำนึงถึงความสมเหตุสมผลของคำตอบที่ได้ที่ถูกต้องและชัดเจน.
สมรรถนะข้อที่ 3 กระบวนการสืบสอบทางวิทยาสมรรถนะหลักด้านและจิตวิทยาสมรรถนะหลักด้าน บอกขั้นตอนกระบวนการเรียนรู้ทางสุนทรียศาสตร์ไทยในการพัฒนาทักษะการเรียนรู้ทางสุนทรียศาสตร์ไทย โดยการสืบเสาะความรู้ที่เกี่ยวข้องกับสุนทรียศาสตร์ไทย การคิดวิธีการเรียนเป่าขลุ่ยเพียงออ การอ่านทำนองเพลงปิ้งขนมปัง ทั้งแบบตัวเลข แบบตัวโน้ตดนตรีไทย 7 เสียง แบบตัวโน้ตดนตรีสากลขั้นพื้นฐาน แบบเนื้อร้องและทำนองเพลงปิ้งขนมปัง ผ่านกระบวนการวิเคราะห์หากลวิธีจัดกระบวนการเรียนรู้ภาษาดนตรีผ่านการเรียนรู้ด้วยตนเองจากเว็บไซต์ ครูวชิระ สอนดนตรี เพื่อพัฒนาตนเองในการแก้ไขปัญหาการเรียนรู้ของตนเองตามสถานการณ์ที่เกิดขึ้นได้อย่างถูกต้อง.
สมรรถนะข้อที่ 8 การรู้เท่าทันสื่อสารสนเทศและดิจิทัล รู้จักเลือกใช้เครื่องมือ และแหล่งสื่อสารสนเทศเพื่อการสืบค้น และเข้าถึงข้อมูลทางดนตรีที่ต้องการอย่างเหมาะสมกับวัย ตลอดจนสามารถสืบค้น อ่าน สร้างสื่อและข่าวสารทางสุนทรียศาสตร์ไทยอย่างง่าย และเลือกส่งต่อข้อมูลข่าวสารทางสุนทรียศาสตร์ไทยที่เป็นประโยชน์ ต่อตนเอง ครอบครัว.
สัปดาห์ที่ 19 ระหว่างวันที่ 12-16 กันยายน 2565 การเรียนรู้ทางดนตรี ในช่วง COVID - 19 ระบาดมีความสำคัญต่อการพัฒนาทักษะทางดนตรีของผู้เรียน ผ่านการใช้แหล่งเรียนรู้ภูมิปัญญาท้องถิ่นในโรงเรียนและการใช้โปรแกรมเพื่อการสืบค้นข้อมูลในการแสวงหาความรู้ทางดนตรีด้วยตนเองผ่านเว็บไซต์.
สมรรถนะข้อที่ 1 ภาษาไทยเพื่อการสื่อสาร นำทักษะการฟังพูดอ่านเขียนภาษาไทยมาแก้ไขปัญหาการเรียนรู้ทางสุนทรียศาสตร์ล้านนาด้านดนตรีล้านนา นาฏศิลป์ล้านนา และศิลปะล้านนาจากประสบการณ์ตรงเพื่อให้มีพื้นฐานอย่างถูกต้อง.
สมรรถนะข้อที่ 8 การรู้เท่าทันสื่อสารสนเทศและดิจิทัล รู้จักเลือกใช้เครื่องมือ และแหล่งสื่อสารสนเทศเพื่อการสืบค้น และเข้าถึงข้อมูลทางดนตรีที่ต้องการอย่างเหมาะสมกับวัย ตลอดจนสามารถสืบค้น อ่าน สร้างสื่อและข่าวสารทางสุนทรียศาสตร์ล้านนาอย่างง่าย และเลือกส่งต่อข้อมูลข่าวสารทางสุนทรียศาสตร์ล้านนาที่เป็นประโยชน์ ต่อตนเอง ครอบครัว.
สัปดาห์ที่ 20 ระหว่างวันที่ 19-23 กันยายน 2565 การนำเสนอผลงานทางทางสุนทรียศาสตร์ล้านนา อาทิด้าน ดนตรีล้านนา นาฏศิลป์ล้านนาและศิลปะล้านนาของผู้เรียนที่ความสำคัญต่อการพัฒนาทักษะการใช้ภาษาไทยมาแก้ปัญหากระบวนการเรียนรู้อย่างเป็นขั้นตอนผ่านการแสดงผลงานทางสุนทรียศาสตร์ล้านนาในรูปแบบต่างๆที่นักเรียนสนใจเป็นพิเศษ.
สมรรถนะข้อที่ 1 ภาษาไทยเพื่อการสื่อสาร นำทักษะการฟังพูดอ่านเขียนภาษาไทยมาแก้ไขปัญหาการเรียนรู้ทางสุนทรียศาสตร์ล้านนาด้านดนตรีล้านนา นาฏศิลป์ล้านนา และศิลปะล้านนาจากประสบการณ์ตรงเพื่อให้มีพื้นฐานอย่างถูกต้อง.
สมรรถนะข้อที่ 8 การรู้เท่าทันสื่อสารสนเทศและดิจิทัล รู้จักเลือกใช้เครื่องมือ และแหล่งสื่อสารสนเทศเพื่อการสืบค้น และเข้าถึงข้อมูลทางดนตรีที่ต้องการอย่างเหมาะสมกับวัย ตลอดจนสามารถสืบค้น อ่าน สร้างสื่อและข่าวสารทางสุนทรียศาสตร์ล้านนาอย่างง่าย และเลือกส่งต่อข้อมูลข่าวสารทางสุนทรียศาสตร์ล้านนาที่เป็นประโยชน์ ต่อตนเอง ครอบครัว.
การฝึกปฏิบัติเครื่องดนตรีไทยประเภทเครื่องเป่าไทย โดยต่อเพลงปิ้งขนมปัง ใช้ขลุ่ยเพียงออ คีย์ C มาพัฒนาทักษะการบรรเลงดนตรีไทยของตนเองให้สามารถปฏิบัติเครื่องดนตรีไทยที่ถนัดตามบทเพลงที่กำหนดตามบุคลิกภาพในการปฏิบัติเครื่องดนตรีไทยแต่ละชนิด.
สมรรถนะข้อที่ 1 ภาษาไทยเพื่อการสื่อสาร นำทักษะการฟังพูดอ่านเขียนภาษาไทยมาแก้ไขปัญหาการเรียนรู้ทางสุนทรียศาสตร์ไทยด้านดนตรีไทย นาฏศิลป์ไทย และศิลปะไทยจากประสบการณ์ตรงเพื่อให้มีพื้นฐานอย่างถูกต้อง.
สมรรถนะข้อที่ 2 คณิตสมรรถนะหลักด้านในชีวิตประจำวันนำทักษะกระบวนการทางคณิตศาสตร์มาแก้ปัญหาในชีวิตประจำวันที่เหมาะสมกับการเรียนรู้ทางสุนทรียศาสตร์ไทยอาทิ ดนตรีไทย นาฏศิลป์ไทย และศิลปะไทย โดยนำทักษะทางคณิตศาสตร์มาแก้ปัญหาและคำนึงถึงความสมเหตุสมผลของคำตอบที่ได้ที่ถูกต้องและชัดเจน.
สมรรถนะข้อที่ 3 กระบวนการสืบสอบทางวิทยาสมรรถนะหลักด้านและจิตวิทยาสมรรถนะหลักด้าน บอกขั้นตอนกระบวนการเรียนรู้ทางดนตรีในการพัฒนาทักษะการฝึกปฏิบัติเครื่องเป่าไทย ด้วยขลุ่ยเพียงออได้อย่างถูกต้องและปลอดภัยในการดำเนินชีวิต.
สมรรถนะข้อที่ 8 การรู้เท่าทันสื่อสารสนเทศและดิจิทัล รู้จักเลือกใช้เครื่องมือ และแหล่งสื่อสารสนเทศเพื่อการสืบค้น และเข้าถึงข้อมูลทางดนตรีที่ต้องการอย่างเหมาะสมกับวัย ตลอดจนสามารถสืบค้น อ่าน สร้างสื่อและข่าวสารทางสุนทรียศาสตร์ไทยอย่างง่าย และเลือกส่งต่อข้อมูลข่าวสารทางสุนทรียศาสตร์ไทยที่เป็นประโยชน์ ต่อตนเอง ครอบครัว.
การปฏิบัติทักษะขับเพลงถือเป็นส่วนประกบสำคัญในการเรียนรู้ทางดนตรี โดยเฉพาะเพลงชาติ และเพลงสรรเสริญพระบารมี ถือเป็นเพลงที่คนไทยทุกคนควรร้องให้เกิดความไพเราะและมีท่าทางในการขับร้อง รวมถึงการขับร้องเพลงปิ้งขนมปังที่ผสมผสานการเคลื่อนไหวร่างกายแบบบูรณาการท่าทางการตบมะผาบและท่าทางมวยโบราณในจังหวะและทำนองอย่างสม่ำเสมอ.
สมรรถนะข้อที่ 1 ภาษาไทยเพื่อการสื่อสาร นำทักษะการฟังพูดอ่านเขียนภาษาไทยมาแก้ไขปัญหาการเรียนรู้ทางสุนทรียศาสตร์ไทยด้านดนตรีไทย นาฏศิลป์ไทย และศิลปะไทยจากประสบการณ์ตรงเพื่อให้มีพื้นฐานอย่างถูกต้อง.
สมรรถนะข้อที่ 2 คณิตสมรรถนะหลักด้านในชีวิตประจำวันนำทักษะกระบวนการทางคณิตศาสตร์มาแก้ปัญหาในชีวิตประจำวันที่เหมาะสมกับการเรียนรู้ทางสุนทรียศาสตร์ไทยอาทิ ดนตรีไทย นาฏศิลป์ไทย และศิลปะไทย โดยนำทักษะทางคณิตศาสตร์มาแก้ปัญหาและคำนึงถึงความสมเหตุสมผลของคำตอบที่ได้ที่ถูกต้องและชัดเจน.
สมรรถนะข้อที่ 8 การรู้เท่าทันสื่อสารสนเทศและดิจิทัล รู้จักเลือกใช้เครื่องมือ และแหล่งสื่อสารสนเทศเพื่อการสืบค้น และเข้าถึงข้อมูลทางดนตรีที่ต้องการอย่างเหมาะสมกับวัย ตลอดจนสามารถสืบค้น อ่าน สร้างสื่อและข่าวสารทางสุนทรียศาสตร์ไทยอย่างง่าย และเลือกส่งต่อข้อมูลข่าวสารทางสุนทรียศาสตร์ไทยที่เป็นประโยชน์ ต่อตนเอง ครอบครัว.
การฝึกปฏิบัติหน้าทับดนตรีไทยถือเป็นสิ่งสำคัญที่ผู้เรียนดนตรีไทยพึงปฏิบัติอย่างต่อเนื่องถึงวิธีการใช้หน้าทับดนตรีไทยให้สอดคล้องกับทำนองเพลงที่บรรเลงด้วยเครื่องดนตรีไทยแต่ละประเภทของวงดนตรีไทย.
สมรรถนะข้อที่ 1 ภาษาไทยเพื่อการสื่อสาร นำทักษะการฟังพูดอ่านเขียนภาษาไทยมาแก้ไขปัญหาการเรียนรู้ทางสุนทรียศาสตร์ล้านนาด้านดนตรีล้านนา นาฏศิลป์ล้านนา และศิลปะล้านนาจากประสบการณ์ตรงเพื่อให้มีพื้นฐานอย่างถูกต้อง.
สมรรถนะข้อที่ 2 คณิตสมรรถนะหลักด้านในชีวิตประจำวันนำทักษะกระบวนการทางคณิตศาสตร์มาแก้ปัญหาในชีวิตประจำวันที่เหมาะสมกับการเรียนรู้ทางสุนทรียศาสตร์ไทยอาทิ ดนตรีไทย นาฏศิลป์ไทย และศิลปะไทย โดยนำทักษะทางคณิตศาสตร์มาแก้ปัญหาและคำนึงถึงความสมเหตุสมผลของคำตอบที่ได้ที่ถูกต้องและชัดเจน.
สมรรถนะข้อที่ 8 การรู้เท่าทันสื่อสารสนเทศและดิจิทัล รู้จักเลือกใช้เครื่องมือ และแหล่งสื่อสารสนเทศเพื่อการสืบค้น และเข้าถึงข้อมูลทางดนตรีที่ต้องการอย่างเหมาะสมกับวัย ตลอดจนสามารถสืบค้น อ่าน สร้างสื่อและข่าวสารทางสุนทรียศาสตร์ล้านนาอย่างง่าย และเลือกส่งต่อข้อมูลข่าวสารทางสุนทรียศาสตร์ล้านนาที่เป็นประโยชน์ ต่อตนเอง ครอบครัว.
การฝึกปฏิบัติรวมวงดนตรีล้านนาถือเป็นส่วนสำคัญในการทำงานแบบรวมพลังเป็นทีมและเป็นแบบแผนของการบรรเลงดนตรีไทยประเภทเครื่องเป่าไทย ผ่านการเรียนรู้ดนตรีระบบออนไลน์ด้วยตนเองในการเลือกบทเพลงปิ้งขนมปัง มาฝึกซ้อมในการบรรเลงดนตรีไทยประเภทเครื่องเป่าไทย.
สมรรถนะข้อที่ 1 ภาษาไทยเพื่อการสื่อสาร นำทักษะการฟังพูดอ่านเขียนภาษาไทยมาแก้ไขปัญหาการเรียนรู้ทางสุนทรียศาสตร์ไทยด้านดนตรีไทย นาฏศิลป์ไทย และศิลปะไทยจากประสบการณ์ตรงเพื่อให้มีพื้นฐานอย่างถูกต้อง.
สมรรถนะข้อที่ 2 คณิตสมรรถนะหลักด้านในชีวิตประจำวันนำทักษะกระบวนการทางคณิตศาสตร์มาแก้ปัญหาในชีวิตประจำวันที่เหมาะสมกับการเรียนรู้ทางสุนทรียศาสตร์ไทยอาทิ ดนตรีไทย นาฏศิลป์ไทย และศิลปะไทย โดยนำทักษะทางคณิตศาสตร์มาแก้ปัญหาและคำนึงถึงความสมเหตุสมผลของคำตอบที่ได้ที่ถูกต้องและชัดเจน.
สมรรถนะข้อที่ 5 ทักษะชีวิตและความเจริญแห่งตน บอกขั้นตอนการเรียนรู้และพัฒนาสุนทรียศาสตร์ไทยของตนเองสามารถควบคุมอารมณ์ของตนได้ และปรับตนให้เล่นและเรียนรู้ทางสุนทรียศาสตร์ไทย ร่วมกับเพื่อน ๆ ได้ มีสัมมาคารวะ และปฏิบัติตนต่อผู้อื่นได้อย่างเหมาะสมกับวัย.
สมรรถนะข้อที่ 8 การรู้เท่าทันสื่อสารสนเทศและดิจิทัล รู้จักเลือกใช้เครื่องมือ และแหล่งสื่อสารสนเทศเพื่อการสืบค้น และเข้าถึงข้อมูลทางดนตรีที่ต้องการอย่างเหมาะสมกับวัย ตลอดจนสามารถสืบค้น อ่าน สร้างสื่อและข่าวสารทางสุนทรียศาสตร์ไทยอย่างง่าย และเลือกส่งต่อข้อมูลข่าวสารทางสุนทรียศาสตร์ไทยที่เป็นประโยชน์ ต่อตนเอง ครอบครัว.
การดูแลรักษาเครื่องดนตรีเป็นพื้นฐานในการซ่อมสร้างอุปกรณ์ดนตรีไทยเพื่อเป็นรากฐานในการเรียนรู้รูปทรงสัดส่วนและโครงสร้างด้านกายภาพของวัสดุที่ใช้ในการซ่อมสร้างอุปกรณ์ดนตรีไทย รวมถึงการเทียบเสียงเครื่องดนตรีไทย ด้วยแอปพลิเคชัน THAI TUNER APP เพื่อช่วยในการฝึกการใช้เครื่องมือเครื่องใช้และอุปกรณ์ที่ใช้กับเครื่องดนตรีไทยในการดูแลรักษาเครื่องดนตรีไทยก่อนและหลังการบรรเลงในช่วง COVID - 19 ระบาด.
สมรรถนะข้อที่ 1 ภาษาไทยเพื่อการสื่อสาร นำทักษะการฟังพูดอ่านเขียนภาษาไทยมาแก้ไขปัญหาการเรียนรู้ทางสุนทรียศาสตร์ไทยด้านดนตรีไทย นาฏศิลป์ไทย และศิลปะไทยจากประสบการณ์ตรงเพื่อให้มีพื้นฐานอย่างถูกต้อง.
สมรรถนะข้อที่ 2 คณิตสมรรถนะหลักด้านในชีวิตประจำวันนำทักษะกระบวนการทางคณิตศาสตร์มาแก้ปัญหาในชีวิตประจำวันที่เหมาะสมกับการเรียนรู้ทางสุนทรียศาสตร์ไทยอาทิ ดนตรีไทย นาฏศิลป์ไทย และศิลปะไทย โดยนำทักษะทางคณิตศาสตร์มาแก้ปัญหาและคำนึงถึงความสมเหตุสมผลของคำตอบที่ได้ที่ถูกต้องและชัดเจน.
สมรรถนะข้อที่ 3 กระบวนการสืบสอบทางวิทยาสมรรถนะหลักด้านและจิตวิทยาสมรรถนะหลักด้าน บอกขั้นตอนกระบวนการเรียนรู้ทางสุนทรียศาสตร์ไทยอาทิ ดนตรีไทย นาฏศิลป์ไทย และศิลปะไทยในการพัฒนาพื้นฐานการซ่อมอุปกรณ์ทางดนตรีไทย นาฏศิลป์ไทยและสร้างงานศิลปะไทยได้อย่างถูกต้องและปลอดภัยในการดำเนินชีวิต.
สมรรถนะข้อที่ 5 ทักษะชีวิตและความเจริญแห่งตน บอกขั้นตอนการเรียนรู้และพัฒนาสุนทรียศาสตร์ไทยของตนเองสามารถควบคุมอารมณ์ของตนได้ และปรับตนให้เล่นและเรียนรู้ทางสุนทรียศาสตร์ไทย ร่วมกับเพื่อน ๆ ได้ มีสัมมาคารวะ และปฏิบัติตนต่อผู้อื่นได้อย่างเหมาะสมกับวัย.
สมรรถนะข้อที่ 8 การรู้เท่าทันสื่อสารสนเทศและดิจิทัล รู้จักเลือกใช้เครื่องมือ และแหล่งสื่อสารสนเทศเพื่อการสืบค้น และเข้าถึงข้อมูลทางดนตรีที่ต้องการอย่างเหมาะสมกับวัย ตลอดจนสามารถสืบค้น อ่าน สร้างสื่อและข่าวสารทางสุนทรียศาสตร์ไทยอย่างง่าย และเลือกส่งต่อข้อมูลข่าวสารทางสุนทรียศาสตร์ไทยที่เป็นประโยชน์ ต่อตนเอง ครอบครัว.
การใช้แหล่งเรียนรู้และภูมิปัญญาท้องถิ่นมีความสำคัญอย่างยิ่งในการพัฒนาศักยภาพของผู้เรียนในการถ่ายทอดความรู้ทางภูมิปัญญาท้องถิ่นเพื่อการจัดการเรียนรู้ในโรงเรียน ผ่านเว็บไซต์ ครูวชิระ สอนดนตรี www.k-wachira.com ในช่วง COVID - 19 ระบาด.
สมรรถนะข้อที่ 1 ภาษาไทยเพื่อการสื่อสาร นำทักษะการฟังพูดอ่านเขียนภาษาไทยมาแก้ไขปัญหาการเรียนรู้ทางสุนทรียศาสตร์ไทย-ล้านนา ด้านดนตรีไทย-ล้านนา นาฏศิลป์ไทย-ล้านนา และศิลปะไทย-ล้านนา จากประสบการณ์ตรงเพื่อให้มีพื้นฐานอย่างถูกต้อง.
สมรรถนะข้อที่ 3 กระบวนการสืบสอบทางวิทยาสมรรถนะหลักด้านและจิตวิทยาสมรรถนะหลักด้าน บอกขั้นตอนกระบวนการเรียนรู้ทางสุนทรียศาสตร์ไทย-ล้านนา อาทิ ดนตรีไทย-ล้านนา นาฏศิลป์ไทย-ล้านนา และศิลปะไทย-ล้านนา ในการพัฒนาพื้นฐานการซ่อมอุปกรณ์ทางดนตรีไทย-ล้านนา นาฏศิลป์ไทย-ล้านนาและสร้างงานศิลปะไทย-ล้านนาได้อย่างถูกต้องและปลอดภัยในการดำเนินชีวิต.
สมรรถนะข้อที่ 8 การรู้เท่าทันสื่อสารสนเทศและดิจิทัล รู้จักเลือกใช้เครื่องมือ และแหล่งสื่อสารสนเทศเพื่อการสืบค้น และเข้าถึงข้อมูลทางดนตรีที่ต้องการอย่างเหมาะสมกับวัย ตลอดจนสามารถสืบค้น อ่าน สร้างสื่อและข่าวสารทางสุนทรียศาสตร์ไทย-ล้านนา อย่างง่าย และเลือกส่งต่อข้อมูลข่าวสารทางสุนทรียศาสตร์ไทย-ล้านนา ที่เป็นประโยชน์ ต่อตนเอง ครอบครัว.
สมรรถนะข้อที่ 10 การเป็นเด็กตื่นรู้และมีจิตสำนึกสากลการนำเสนอผลงานทางสุนทรียศาสตร์ไทย-ล้านนา อาทิ ดนตรีไทย-ล้านนา นาฏศิลป์ไทย-ล้านนา และศิลปะไทย-ล้านนาให้ผู้เรียนดูทีละขั้นตอนตามกระบวนการเรียนรู้จนผู้เรียนจำได้ โดยเริ่มจากก่อนพื้นฐานสู่พื้นฐานการเรียนรู้ระดับที่สูงขึ้นตามลำดับการเรียนรู้ทางสุนทรียศาสตร์ไทย-ล้านนา อาทิ ดนตรีไทย-ล้านนา นาฏศิลป์ไทย-ล้านนา และศิลปะไทย-ล้านนา และนำไปสอนต่อ จนกลายเป็นทักษะที่เกิดจากการลงมือฝึกปฏิบัติจริงจนเป็นนิสัยรักการเรียนรู้ .
ค่าตัวโน้ต
ชื่อตัวโน้ตสากล | จำนวน | จังหวะในดนตรี | บาท |
---|---|---|---|
ตัวกลม | จำนวน 1 ตัว | เท่ากับ 4 จังหวะ | เป็นเงิน 4 บาท |
ตัวขาว | จำนวน 1 ตัว | เท่ากับ 2 จังหวะ | เป็นเงิน 2 บาท |
ตัวดำ | จำนวน 1 ตัว | เท่ากับ 1 จังหวะ | เป็นเงิน 1 บาท |
ตัวเขบ็ต 1 ชั้น | จำนวน 1 ตัว | เท่ากับ 1/2 จังหวะ | เป็นเงิน 50 สตางค์ |